News

นอนไม่เพียงพอ: ปัญหาที่ไม่ควรมองข้าม

นอนไม่เพียงพอ: ปัญหาที่ไม่ควรมองข้าม

ความสำคัญของการนอนหลับและผลกระทบต่อสุขภาพ การนอนหลับมีบทบาทสำคัญต่อสุขภาพโดยรวมของเรา โดยเป็นกระบวนการที่ช่วยในการฟื้นฟูร่างกายและจิตใจ การนอนหลับที่เพียงพอไม่เพียงแต่ช่วยให้เรารู้สึกสดชื่นและมีพลังในการทำกิจกรรมต่างๆ แต่ยังมีผลกระทบต่อสุขภาพโดยรวมในหลายๆ ด้าน การศึกษาที่ดำเนินการเกี่ยวกับการนอนหลับได้ชี้ให้เห็นว่าการนอนหลับที่ไม่เพียงพอสามารถส่งผลเสียต่อสุขภาพในหลายๆ ด้าน การนอนหลับและไมเกรน ไมเกรนเป็นภาวะเรื้อรังที่มีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อคุณภาพชีวิตของคนวัยทำงานในปัจจุบัน โดยเฉพาะเมื่อมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับปัญหาการนอนหลับ การศึกษาวิจัยล่าสุดชี้ให้เห็นว่าปัญหาการนอนหลับและไมเกรนสามารถเกิดขึ้นและส่งผลกระทบซึ่งกันและกัน โดยมีกลไกการทำงานที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาทส่วนกลางและสารสื่อประสาทหลายชนิด โอเรซิน (Orexin): โอเรซินเป็นสารสื่อประสาทที่มีบทบาทในการควบคุมการตื่นตัวและการนอนหลับ ความผิดปกติในระดับของโอเรซินสามารถส่งผลต่อการควบคุมวงจรการนอนหลับและการตื่นตัว ซึ่งอาจทำให้มีความถี่และความรุนแรงของไมเกรนเพิ่มขึ้น เซโรโทนิน (Serotonin): เซโรโทนินมีบทบาทสำคัญในการควบคุมอารมณ์ การนอนหลับ และการรับรู้ความเจ็บปวด การเปลี่ยนแปลงในระดับเซโรโทนินสามารถส่งผลต่อความรุนแรงของไมเกรนได้ เนื่องจากเซโรโทนินมีผลต่อการจัดการกับอาการปวดหัวและความรู้สึกไม่สบาย การนอนหลับและภาวะทางอารมณ์ การนอนหลับไม่เพียงพอเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในวัยรุ่นและวัยทำงาน โดยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในปัจจุบัน การอดนอนเพียงหนึ่งคืนสามารถส่งผลกระทบต่อการมองโลกในแง่ลบและอารมณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อการนอนหลับไม่เพียงพอเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง...

นอนไม่เพียงพอ: ปัญหาที่ไม่ควรมองข้าม

ความสำคัญของการนอนหลับและผลกระทบต่อสุขภาพ การนอนหลับมีบทบาทสำคัญต่อสุขภาพโดยรวมของเรา โดยเป็นกระบวนการที่ช่วยในการฟื้นฟูร่างกายและจิตใจ การนอนหลับที่เพียงพอไม่เพียงแต่ช่วยให้เรารู้สึกสดชื่นและมีพลังในการทำกิจกรรมต่างๆ แต่ยังมีผลกระทบต่อสุขภาพโดยรวมในหลายๆ ด้าน การศึกษาที่ดำเนินการเกี่ยวกับการนอนหลับได้ชี้ให้เห็นว่าการนอนหลับที่ไม่เพียงพอสามารถส่งผลเสียต่อสุขภาพในหลายๆ ด้าน การนอนหลับและไมเกรน ไมเกรนเป็นภาวะเรื้อรังที่มีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อคุณภาพชีวิตของคนวัยทำงานในปัจจุบัน โดยเฉพาะเมื่อมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับปัญหาการนอนหลับ การศึกษาวิจัยล่าสุดชี้ให้เห็นว่าปัญหาการนอนหลับและไมเกรนสามารถเกิดขึ้นและส่งผลกระทบซึ่งกันและกัน โดยมีกลไกการทำงานที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาทส่วนกลางและสารสื่อประสาทหลายชนิด โอเรซิน (Orexin): โอเรซินเป็นสารสื่อประสาทที่มีบทบาทในการควบคุมการตื่นตัวและการนอนหลับ ความผิดปกติในระดับของโอเรซินสามารถส่งผลต่อการควบคุมวงจรการนอนหลับและการตื่นตัว ซึ่งอาจทำให้มีความถี่และความรุนแรงของไมเกรนเพิ่มขึ้น เซโรโทนิน (Serotonin): เซโรโทนินมีบทบาทสำคัญในการควบคุมอารมณ์ การนอนหลับ และการรับรู้ความเจ็บปวด การเปลี่ยนแปลงในระดับเซโรโทนินสามารถส่งผลต่อความรุนแรงของไมเกรนได้ เนื่องจากเซโรโทนินมีผลต่อการจัดการกับอาการปวดหัวและความรู้สึกไม่สบาย การนอนหลับและภาวะทางอารมณ์ การนอนหลับไม่เพียงพอเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในวัยรุ่นและวัยทำงาน โดยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในปัจจุบัน การอดนอนเพียงหนึ่งคืนสามารถส่งผลกระทบต่อการมองโลกในแง่ลบและอารมณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อการนอนหลับไม่เพียงพอเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง...

3 อาการเตือน ถึงเวลาเปลี่ยนหมอนและที่นอน

3 อาการเตือน ถึงเวลาเปลี่ยนหมอนและที่นอน

การนอนหลับที่มีคุณภาพเป็นสิ่งสำคัญในการรักษาสุขภาพ ควรให้ความสำคัญกับการเปลี่ยนหมอนและที่นอนเมื่อพบอาการเหล่านี้ที่เป็นสัญญาณบ่งบอกถึงการเสื่อมสภาพของหมอนและที่นอน เพื่อให้คุณสามารถนอนหลับได้อย่างสบายและปลอดภัยจากปัญหาสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต หากหมอนหรือที่นอนของคุณเริ่มเสื่อมสภาพ คุณอาจพบอาการดังต่อไปนี้: อาการปวดเมื่อยตามร่างกายปวดคอ: หมอนที่แบนหรือไม่สามารถรองรับศีรษะและคอได้อย่างเหมาะสม ทำให้เกิดความเครียดต่อข้อต่อและกล้ามเนื้อ (Stress force) อาจทำให้เกิดอาการปวดคอได้ปวดหลัง: ที่นอนที่เสื่อมสภาพ ไม่สามารถรองรับสันหลังให้อยู่ในแนวที่ถูกต้องได้ รู้สึกจมลงไปกับที่นอน ส่งผลให้ข้อต่อเกิดแรงกดต่อกัน (Shear and Compression force) และกล้ามเนื้อต้องทำงานตลอดทั้งคืน (Over active)  อาจส่งผลให้เกิดอาการปวดหลังได้ปวดไหล่และแขน: หมอนหรือที่นอนที่เสื่อมสภาพ อาจทำให้ร่างกายอยู่ในท่าที่ผิดรูปทรง ทำให้ปุ่มกระดูกถูกกดทับตลอดทั้งคืน (Compression force) และส่งผลให้เกิดอาการปวดไหล่และแขนได้ อาการแพ้และระบบทางเดินหายใจน้ำมูกไหล...

3 อาการเตือน ถึงเวลาเปลี่ยนหมอนและที่นอน

การนอนหลับที่มีคุณภาพเป็นสิ่งสำคัญในการรักษาสุขภาพ ควรให้ความสำคัญกับการเปลี่ยนหมอนและที่นอนเมื่อพบอาการเหล่านี้ที่เป็นสัญญาณบ่งบอกถึงการเสื่อมสภาพของหมอนและที่นอน เพื่อให้คุณสามารถนอนหลับได้อย่างสบายและปลอดภัยจากปัญหาสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต หากหมอนหรือที่นอนของคุณเริ่มเสื่อมสภาพ คุณอาจพบอาการดังต่อไปนี้: อาการปวดเมื่อยตามร่างกายปวดคอ: หมอนที่แบนหรือไม่สามารถรองรับศีรษะและคอได้อย่างเหมาะสม ทำให้เกิดความเครียดต่อข้อต่อและกล้ามเนื้อ (Stress force) อาจทำให้เกิดอาการปวดคอได้ปวดหลัง: ที่นอนที่เสื่อมสภาพ ไม่สามารถรองรับสันหลังให้อยู่ในแนวที่ถูกต้องได้ รู้สึกจมลงไปกับที่นอน ส่งผลให้ข้อต่อเกิดแรงกดต่อกัน (Shear and Compression force) และกล้ามเนื้อต้องทำงานตลอดทั้งคืน (Over active)  อาจส่งผลให้เกิดอาการปวดหลังได้ปวดไหล่และแขน: หมอนหรือที่นอนที่เสื่อมสภาพ อาจทำให้ร่างกายอยู่ในท่าที่ผิดรูปทรง ทำให้ปุ่มกระดูกถูกกดทับตลอดทั้งคืน (Compression force) และส่งผลให้เกิดอาการปวดไหล่และแขนได้ อาการแพ้และระบบทางเดินหายใจน้ำมูกไหล...

เล่นมือถือนานเสี่ยง ‘เอ็นข้อมืออักเสบ’ 

เล่นมือถือนานเสี่ยง ‘เอ็นข้อมืออักเสบ’ 

ใครที่เล่นมือถือหรือแท็บเลตบ่อย ๆ อาจจะต้องลดเวลาเล่นลงหรือหากิจกรรมอย่างอื่นแทรกบ้าง เพราะหากเล่นนาน ๆ เสี่ยงมีอาการปวดตามมาด้วย หนักเข้าเอ็นข้อมืออักเสบจนกระทบการใช้ชีวิตประจำวัน วันนี้ mr.big จะพามาทำความรู้จักกับโรคเอ็นข้อมืออักเสบกันครับ

เล่นมือถือนานเสี่ยง ‘เอ็นข้อมืออักเสบ’ 

ใครที่เล่นมือถือหรือแท็บเลตบ่อย ๆ อาจจะต้องลดเวลาเล่นลงหรือหากิจกรรมอย่างอื่นแทรกบ้าง เพราะหากเล่นนาน ๆ เสี่ยงมีอาการปวดตามมาด้วย หนักเข้าเอ็นข้อมืออักเสบจนกระทบการใช้ชีวิตประจำวัน วันนี้ mr.big จะพามาทำความรู้จักกับโรคเอ็นข้อมืออักเสบกันครับ

เคล็ดลับ !! ลดปวดหลังออกกำลังกาย

เคล็ดลับ !! ลดปวดหลังออกกำลังกาย

สายออกกำลังกายมือใหม่ หลายคนคงพบอาการปวดกล้ามเนื้อภายหลังการออกกำลังกาย (Delayed onset muscle soreness: DOMS) เป็นภาวะที่พบบ่อยโดยมีอาการปวดกล้ามเนื้อและตึง ซึ่งมักเกิดขึ้นหลายชั่วโมงหรือหลายวันหลังจากออกกำลังกายอย่างหนัก โดยทั่วไปจะเริ่มรู้สึกชัดเจนเมื่อ 24 ชั่วโมงและรู้สึกมากที่สุดเมื่อ 48 ชั่วโมงภายหลังการออกกำลังกาย หลังจากนั้นความปวดและตึงจะค่อยๆบรรเทาลง และการประคบน้ำแข็งหรือการแช่น้ำแข็ง (การบำบัดด้วยความเย็น) มักใช้ในกีฬาและการออกกำลังกายเพื่อบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อเฉียบพลัน นั้นมีประสิทธิภาพในการป้องกัน DOMS ทำไมความเย็นถึงช่วยลดอาการปวดกล้ามเนื้อภายหลังการออกกำลังกายได้ ? DOMS จากการศึกษาพบว่าเกิดจากการบาดเจ็บระดับโมเลกุลของเส้นใยกล้ามเนื้อรวมไปถึงเนื้อเยื่อเกี่ยวกับโดยรอบจากหดและยืดของกล้ามเนื้ออย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะลักษณะกล้ามเนื้อทำงานแบบยืดยาวออก (Eccentric exercise) การบาดเจ็บนี้กระตุ้นการอักเสบและหลั่งสารเคมีที่ก่อให้เกิดอาการปวดและตึงของกล้ามเนื้อ โดยหลักการรักษาด้วยความเย็น ทั้งการใช้ประคบน้ำแข็ง...

เคล็ดลับ !! ลดปวดหลังออกกำลังกาย

สายออกกำลังกายมือใหม่ หลายคนคงพบอาการปวดกล้ามเนื้อภายหลังการออกกำลังกาย (Delayed onset muscle soreness: DOMS) เป็นภาวะที่พบบ่อยโดยมีอาการปวดกล้ามเนื้อและตึง ซึ่งมักเกิดขึ้นหลายชั่วโมงหรือหลายวันหลังจากออกกำลังกายอย่างหนัก โดยทั่วไปจะเริ่มรู้สึกชัดเจนเมื่อ 24 ชั่วโมงและรู้สึกมากที่สุดเมื่อ 48 ชั่วโมงภายหลังการออกกำลังกาย หลังจากนั้นความปวดและตึงจะค่อยๆบรรเทาลง และการประคบน้ำแข็งหรือการแช่น้ำแข็ง (การบำบัดด้วยความเย็น) มักใช้ในกีฬาและการออกกำลังกายเพื่อบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อเฉียบพลัน นั้นมีประสิทธิภาพในการป้องกัน DOMS ทำไมความเย็นถึงช่วยลดอาการปวดกล้ามเนื้อภายหลังการออกกำลังกายได้ ? DOMS จากการศึกษาพบว่าเกิดจากการบาดเจ็บระดับโมเลกุลของเส้นใยกล้ามเนื้อรวมไปถึงเนื้อเยื่อเกี่ยวกับโดยรอบจากหดและยืดของกล้ามเนื้ออย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะลักษณะกล้ามเนื้อทำงานแบบยืดยาวออก (Eccentric exercise) การบาดเจ็บนี้กระตุ้นการอักเสบและหลั่งสารเคมีที่ก่อให้เกิดอาการปวดและตึงของกล้ามเนื้อ โดยหลักการรักษาด้วยความเย็น ทั้งการใช้ประคบน้ำแข็ง...

6,000 ก้าว นับก้าวที่ให้มากกว่าสุขภาพดี 

6,000 ก้าว นับก้าวที่ให้มากกว่าสุขภาพดี 

แค่ ‘เดิน’ จะเป็นการออกกำลังกายได้อย่างไร? mr.big ชวนเพื่อน ๆ มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเดินกันครับ 

6,000 ก้าว นับก้าวที่ให้มากกว่าสุขภาพดี 

แค่ ‘เดิน’ จะเป็นการออกกำลังกายได้อย่างไร? mr.big ชวนเพื่อน ๆ มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเดินกันครับ 

พักเบรกสักนิดพิชิตออฟฟิศซินโดรม

พักเบรกสักนิดพิชิตออฟฟิศซินโดรม

ในปัจจุบันเข้าสู่โลกยุคดิจิทัลที่ผู้คนมากมายใช้เวลาส่วนใหญ่ในแต่ละวันกับการนั่งเก้าอี้ที่สำนักงาน ซึ่งเป็นการใช้ชีวิตรูปแบบใหม่ที่มาพร้อมกับอาการ”ออฟฟิศซินโดรม” ปวดกล้ามเนื้อคอบ่าหลัง ปวดตา รวมไปถึงอาการปวดหัวคล้ายไมเกรน ซึ่งมีการศึกษาพบว่าพักเบรกระหว่างวันสามารถช่วยป้องกันอาการดังกล่าวได้ ทำความเข้าใจกับคำว่า ออฟฟิศซินโดรม อาการกลุ่มออฟฟิศซินโดรมเป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากการนั่งทำงานเป็นเวลานานร่วมกับท่าทางการทำงานที่ไม่เหมาะสม โดยมีอาการเหล่านี้ ปวดคอ ไหล่ หลัง ความไม่สบายที่ข้อมือ นิ้วมือ เนื่องจากการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ ปวดตาและปวดหัว ความเครียดและล้าจากการทำงาน ความลับที่เราอาจไม่รู้จากการพักเบรกระหว่างวัน งานวิจัยชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการพักเบรกเป็นประจำสามารถช่วยได้ทั้งความเครียดทั้งร่างกายและจิตใจเมื่อต้องนั่งเป็นเวลานาน การศึกษาที่ตีพิมพ์ใน "Journal of Occupational Health" พบว่าการพักช่วงสั้นๆ บ่อยๆ สามารถลดความรู้สึกไม่สบายและเพิ่มผลผลิตได้อย่างมาก การพักเหล่านี้อนุญาตให้ การไหลเวียนดีขึ้น:...

พักเบรกสักนิดพิชิตออฟฟิศซินโดรม

ในปัจจุบันเข้าสู่โลกยุคดิจิทัลที่ผู้คนมากมายใช้เวลาส่วนใหญ่ในแต่ละวันกับการนั่งเก้าอี้ที่สำนักงาน ซึ่งเป็นการใช้ชีวิตรูปแบบใหม่ที่มาพร้อมกับอาการ”ออฟฟิศซินโดรม” ปวดกล้ามเนื้อคอบ่าหลัง ปวดตา รวมไปถึงอาการปวดหัวคล้ายไมเกรน ซึ่งมีการศึกษาพบว่าพักเบรกระหว่างวันสามารถช่วยป้องกันอาการดังกล่าวได้ ทำความเข้าใจกับคำว่า ออฟฟิศซินโดรม อาการกลุ่มออฟฟิศซินโดรมเป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากการนั่งทำงานเป็นเวลานานร่วมกับท่าทางการทำงานที่ไม่เหมาะสม โดยมีอาการเหล่านี้ ปวดคอ ไหล่ หลัง ความไม่สบายที่ข้อมือ นิ้วมือ เนื่องจากการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ ปวดตาและปวดหัว ความเครียดและล้าจากการทำงาน ความลับที่เราอาจไม่รู้จากการพักเบรกระหว่างวัน งานวิจัยชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการพักเบรกเป็นประจำสามารถช่วยได้ทั้งความเครียดทั้งร่างกายและจิตใจเมื่อต้องนั่งเป็นเวลานาน การศึกษาที่ตีพิมพ์ใน "Journal of Occupational Health" พบว่าการพักช่วงสั้นๆ บ่อยๆ สามารถลดความรู้สึกไม่สบายและเพิ่มผลผลิตได้อย่างมาก การพักเหล่านี้อนุญาตให้ การไหลเวียนดีขึ้น:...