News
นอนไม่หลับ? มาดูศาสตร์แห่งการจัดพื้นที่เพื่อคุณ...
บทนำ คุณเคยรู้สึกไหมว่าเราให้เวลาในการนอนเต็มอย่างที่แล้ว แต่ตื่นมากลับรู้สึกเหมือนนอนไม่พอ? วันนี้คุณมีเพื่อนแล้ว เพราะปัญหานี้กลายเป็นปัญหาโลกแตกที่ใครๆก็เป็น (ผมคนเขียนก็เคยเจอปัญหานี้) การนอนหลับที่มีคุณภาพกลายเป็นสิ่งที่หายากขึ้นทุกที เพราะจังหวะของโลกเราเต็บไปด้วยความเร่งรีบและความเครียด ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพกายและใจ ประสิทธิภาพการทำงาน และคุณภาพชีวิตโดยรวมในวันนั้นๆ แต่รู้หรือไม่ว่า การจัดการพื้นที่นอนของคุณอย่างถูกต้องสามารถช่วยแก้ปัญหานี้ได้ ในบทความนี้ เราจะพาคุณไปดู “ศาสตร์แห่งการจัดพื้นที่เพื่อคุณภาพการนอนที่ดีขึ้น” สารบัญบทนำ ทำความเข้าใจ "นอนเยอะ ไม่ = คุณภาพการนอนที่ดี" ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพการนอน เทคนิคการสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการนอนหลับ การเลือกเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ สร้างกิจวัตรก่อนนอนที่ดี จัดห้องอย่างไรให้การนอนหลับมีคุณภาพ ไม่ควรใช้เตียงนอนทำทุกสิ่งทุกอย่าง ท้ายบทความ ...
นอนไม่หลับ? มาดูศาสตร์แห่งการจัดพื้นที่เพื่อคุณ...
บทนำ คุณเคยรู้สึกไหมว่าเราให้เวลาในการนอนเต็มอย่างที่แล้ว แต่ตื่นมากลับรู้สึกเหมือนนอนไม่พอ? วันนี้คุณมีเพื่อนแล้ว เพราะปัญหานี้กลายเป็นปัญหาโลกแตกที่ใครๆก็เป็น (ผมคนเขียนก็เคยเจอปัญหานี้) การนอนหลับที่มีคุณภาพกลายเป็นสิ่งที่หายากขึ้นทุกที เพราะจังหวะของโลกเราเต็บไปด้วยความเร่งรีบและความเครียด ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพกายและใจ ประสิทธิภาพการทำงาน และคุณภาพชีวิตโดยรวมในวันนั้นๆ แต่รู้หรือไม่ว่า การจัดการพื้นที่นอนของคุณอย่างถูกต้องสามารถช่วยแก้ปัญหานี้ได้ ในบทความนี้ เราจะพาคุณไปดู “ศาสตร์แห่งการจัดพื้นที่เพื่อคุณภาพการนอนที่ดีขึ้น” สารบัญบทนำ ทำความเข้าใจ "นอนเยอะ ไม่ = คุณภาพการนอนที่ดี" ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพการนอน เทคนิคการสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการนอนหลับ การเลือกเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ สร้างกิจวัตรก่อนนอนที่ดี จัดห้องอย่างไรให้การนอนหลับมีคุณภาพ ไม่ควรใช้เตียงนอนทำทุกสิ่งทุกอย่าง ท้ายบทความ ...
กลยุทธ์คุณภาพชีวิตทำงานดีด้วยการยศาสตร์ 7 วิธีก...
บทนำ หากคุณกำลังเจอปัญหาพนักงานในออฟฟิศของคุณกำลังนั่งหลังงอ บ่นปวดเมื่อย หรือมีอาการเหนื่อยล้าบ่อยๆ นี่อาจเป็นสัญญาณว่าสภาพแวดล้อมการทำงานของคุณกำลังบั่นทอนสุขภาพและประสิทธิภาพของทีม! ในฐานะ HR คุณมีบทบาทสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงาน และการยศาสตร์คือกุญแจสำคัญที่จะช่วยคุณปลดล็อกศักยภาพนี้ ซึ่งเป็นวิธีการที่องค์กรใหญ่ๆ ทั่วโลกที่เข้าใจและนำหลักการยศาสตร์ มาใช้อย่างถูกต้อง บทความนี้จะพาคุณไปดู 7 กลยุทธ์ Ergonomics เพื่อเป็นไอเดียเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมการทำงานที่ส่งเสริมทั้งสุขภาพและประสิทธิภาพ สารบัญ บทนำ มารู้จัก! การยศาสตร์ (Ergonomics) คืออะไร Case Study องค์กรที่ใช้หลักการยศาสตร์เพิ่มประสิทธิภาพองค์กร ออกแบบโต๊ะให้เหมาะสม ปรับปรุงท่าทางการทำงานตามหลักการยศาสตร์ จัดวางอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อย่างเหมาะสม; ใช้เก้าอี้ที่ออกแบบตามหลักการยศาสตร์ ...
กลยุทธ์คุณภาพชีวิตทำงานดีด้วยการยศาสตร์ 7 วิธีก...
บทนำ หากคุณกำลังเจอปัญหาพนักงานในออฟฟิศของคุณกำลังนั่งหลังงอ บ่นปวดเมื่อย หรือมีอาการเหนื่อยล้าบ่อยๆ นี่อาจเป็นสัญญาณว่าสภาพแวดล้อมการทำงานของคุณกำลังบั่นทอนสุขภาพและประสิทธิภาพของทีม! ในฐานะ HR คุณมีบทบาทสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงาน และการยศาสตร์คือกุญแจสำคัญที่จะช่วยคุณปลดล็อกศักยภาพนี้ ซึ่งเป็นวิธีการที่องค์กรใหญ่ๆ ทั่วโลกที่เข้าใจและนำหลักการยศาสตร์ มาใช้อย่างถูกต้อง บทความนี้จะพาคุณไปดู 7 กลยุทธ์ Ergonomics เพื่อเป็นไอเดียเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมการทำงานที่ส่งเสริมทั้งสุขภาพและประสิทธิภาพ สารบัญ บทนำ มารู้จัก! การยศาสตร์ (Ergonomics) คืออะไร Case Study องค์กรที่ใช้หลักการยศาสตร์เพิ่มประสิทธิภาพองค์กร ออกแบบโต๊ะให้เหมาะสม ปรับปรุงท่าทางการทำงานตามหลักการยศาสตร์ จัดวางอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อย่างเหมาะสม; ใช้เก้าอี้ที่ออกแบบตามหลักการยศาสตร์ ...
ทำงานหนัก! รวมเคล็ดลับสำหรับคนนอนน้อยแต่มีคุณภา...
คำแนะนำทั่วไประบุว่าผู้ใหญ่ควรนอนหลับ 7-9 ชั่วโมงต่อคืน แต่ความเป็นจริงน้อยคนที่จะทำได้ ด้วยความรับผิดชอบในชีวิตที่ต้องมี หากชีวิตมีเวลานอนน้อย แล้วเราจะทำอย่างไรให้มันมีประสิทธิภาพที่สุดมาดูกัน
ทำงานหนัก! รวมเคล็ดลับสำหรับคนนอนน้อยแต่มีคุณภา...
คำแนะนำทั่วไประบุว่าผู้ใหญ่ควรนอนหลับ 7-9 ชั่วโมงต่อคืน แต่ความเป็นจริงน้อยคนที่จะทำได้ ด้วยความรับผิดชอบในชีวิตที่ต้องมี หากชีวิตมีเวลานอนน้อย แล้วเราจะทำอย่างไรให้มันมีประสิทธิภาพที่สุดมาดูกัน
7 นโยบายสำหรับองค์กรเพื่อ Work Life Balance ดีท...
หากคุณเป็นผู้บริหาร พนักงาน HR หรือพนักงานที่อยากเห็นการเปลี่ยนแปลงในที่ทำงาน บทความนี้ จะเป็นแนวทางให้คุณสร้างสภาพแวดล้อมการทำงานที่มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้นหากคุณเป็นผู้บริหาร พนักงาน HR หรือพนักงานที่อยากเห็นการเปลี่ยนแปลงในที่ทำงาน บทความนี้ จะเป็นแนวทางให้คุณสร้างสภาพแวดล้อมการทำงานที่มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น
7 นโยบายสำหรับองค์กรเพื่อ Work Life Balance ดีท...
หากคุณเป็นผู้บริหาร พนักงาน HR หรือพนักงานที่อยากเห็นการเปลี่ยนแปลงในที่ทำงาน บทความนี้ จะเป็นแนวทางให้คุณสร้างสภาพแวดล้อมการทำงานที่มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้นหากคุณเป็นผู้บริหาร พนักงาน HR หรือพนักงานที่อยากเห็นการเปลี่ยนแปลงในที่ทำงาน บทความนี้ จะเป็นแนวทางให้คุณสร้างสภาพแวดล้อมการทำงานที่มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น
ออฟฟิศซินโดรม [101] คู่มือกลยุทธ์ในการจัดการสำห...
บทนำ จากสถิติของกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข พบว่ากว่า 60% ในปี 2558 ของพนักงานออฟฟิศประสบกับอาการของออฟฟิศซินโดรม โรคยอดฮิตของคนทำงานออฟฟิศที่กำลังคุกคามสุขภาพของพนักงานในองค์กร ยังส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานอีกด้วย ในบทความนี้ เราจะพาคุณไปทำความรู้จักกับคู่มือในการป้องกันออฟฟิศซินโดรม พร้อมแล้วไปดูกัน! สารบัญ บทนำ มารู้จักออฟฟิศซินโดรม สาเหตุของออฟฟิศซินโดรม กลยุทธ์ : ปรับท่าทางและสภาพแวดล้อมในการทำงาน กลยุทธ์ : ออกนโนบายให้พักและเปลี่ยนอิริยาบถเป็นระยะ กลยุทธ์ : การส่งเสริมการออกกำลังกายและการยืดเหยียดร่างกาย กลยุทธ์ : การจัดการความเครียดและส่งเสริมสุขภาพจิต กลยุทธ์ :...
ออฟฟิศซินโดรม [101] คู่มือกลยุทธ์ในการจัดการสำห...
บทนำ จากสถิติของกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข พบว่ากว่า 60% ในปี 2558 ของพนักงานออฟฟิศประสบกับอาการของออฟฟิศซินโดรม โรคยอดฮิตของคนทำงานออฟฟิศที่กำลังคุกคามสุขภาพของพนักงานในองค์กร ยังส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานอีกด้วย ในบทความนี้ เราจะพาคุณไปทำความรู้จักกับคู่มือในการป้องกันออฟฟิศซินโดรม พร้อมแล้วไปดูกัน! สารบัญ บทนำ มารู้จักออฟฟิศซินโดรม สาเหตุของออฟฟิศซินโดรม กลยุทธ์ : ปรับท่าทางและสภาพแวดล้อมในการทำงาน กลยุทธ์ : ออกนโนบายให้พักและเปลี่ยนอิริยาบถเป็นระยะ กลยุทธ์ : การส่งเสริมการออกกำลังกายและการยืดเหยียดร่างกาย กลยุทธ์ : การจัดการความเครียดและส่งเสริมสุขภาพจิต กลยุทธ์ :...
นอนไม่เพียงพอ: ปัญหาที่ไม่ควรมองข้าม
ความสำคัญของการนอนหลับและผลกระทบต่อสุขภาพ การนอนหลับมีบทบาทสำคัญต่อสุขภาพโดยรวมของเรา โดยเป็นกระบวนการที่ช่วยในการฟื้นฟูร่างกายและจิตใจ การนอนหลับที่เพียงพอไม่เพียงแต่ช่วยให้เรารู้สึกสดชื่นและมีพลังในการทำกิจกรรมต่างๆ แต่ยังมีผลกระทบต่อสุขภาพโดยรวมในหลายๆ ด้าน การศึกษาที่ดำเนินการเกี่ยวกับการนอนหลับได้ชี้ให้เห็นว่าการนอนหลับที่ไม่เพียงพอสามารถส่งผลเสียต่อสุขภาพในหลายๆ ด้าน การนอนหลับและไมเกรน ไมเกรนเป็นภาวะเรื้อรังที่มีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อคุณภาพชีวิตของคนวัยทำงานในปัจจุบัน โดยเฉพาะเมื่อมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับปัญหาการนอนหลับ การศึกษาวิจัยล่าสุดชี้ให้เห็นว่าปัญหาการนอนหลับและไมเกรนสามารถเกิดขึ้นและส่งผลกระทบซึ่งกันและกัน โดยมีกลไกการทำงานที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาทส่วนกลางและสารสื่อประสาทหลายชนิด โอเรซิน (Orexin): โอเรซินเป็นสารสื่อประสาทที่มีบทบาทในการควบคุมการตื่นตัวและการนอนหลับ ความผิดปกติในระดับของโอเรซินสามารถส่งผลต่อการควบคุมวงจรการนอนหลับและการตื่นตัว ซึ่งอาจทำให้มีความถี่และความรุนแรงของไมเกรนเพิ่มขึ้น เซโรโทนิน (Serotonin): เซโรโทนินมีบทบาทสำคัญในการควบคุมอารมณ์ การนอนหลับ และการรับรู้ความเจ็บปวด การเปลี่ยนแปลงในระดับเซโรโทนินสามารถส่งผลต่อความรุนแรงของไมเกรนได้ เนื่องจากเซโรโทนินมีผลต่อการจัดการกับอาการปวดหัวและความรู้สึกไม่สบาย การนอนหลับและภาวะทางอารมณ์ การนอนหลับไม่เพียงพอเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในวัยรุ่นและวัยทำงาน โดยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในปัจจุบัน การอดนอนเพียงหนึ่งคืนสามารถส่งผลกระทบต่อการมองโลกในแง่ลบและอารมณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อการนอนหลับไม่เพียงพอเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง...
นอนไม่เพียงพอ: ปัญหาที่ไม่ควรมองข้าม
ความสำคัญของการนอนหลับและผลกระทบต่อสุขภาพ การนอนหลับมีบทบาทสำคัญต่อสุขภาพโดยรวมของเรา โดยเป็นกระบวนการที่ช่วยในการฟื้นฟูร่างกายและจิตใจ การนอนหลับที่เพียงพอไม่เพียงแต่ช่วยให้เรารู้สึกสดชื่นและมีพลังในการทำกิจกรรมต่างๆ แต่ยังมีผลกระทบต่อสุขภาพโดยรวมในหลายๆ ด้าน การศึกษาที่ดำเนินการเกี่ยวกับการนอนหลับได้ชี้ให้เห็นว่าการนอนหลับที่ไม่เพียงพอสามารถส่งผลเสียต่อสุขภาพในหลายๆ ด้าน การนอนหลับและไมเกรน ไมเกรนเป็นภาวะเรื้อรังที่มีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อคุณภาพชีวิตของคนวัยทำงานในปัจจุบัน โดยเฉพาะเมื่อมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับปัญหาการนอนหลับ การศึกษาวิจัยล่าสุดชี้ให้เห็นว่าปัญหาการนอนหลับและไมเกรนสามารถเกิดขึ้นและส่งผลกระทบซึ่งกันและกัน โดยมีกลไกการทำงานที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาทส่วนกลางและสารสื่อประสาทหลายชนิด โอเรซิน (Orexin): โอเรซินเป็นสารสื่อประสาทที่มีบทบาทในการควบคุมการตื่นตัวและการนอนหลับ ความผิดปกติในระดับของโอเรซินสามารถส่งผลต่อการควบคุมวงจรการนอนหลับและการตื่นตัว ซึ่งอาจทำให้มีความถี่และความรุนแรงของไมเกรนเพิ่มขึ้น เซโรโทนิน (Serotonin): เซโรโทนินมีบทบาทสำคัญในการควบคุมอารมณ์ การนอนหลับ และการรับรู้ความเจ็บปวด การเปลี่ยนแปลงในระดับเซโรโทนินสามารถส่งผลต่อความรุนแรงของไมเกรนได้ เนื่องจากเซโรโทนินมีผลต่อการจัดการกับอาการปวดหัวและความรู้สึกไม่สบาย การนอนหลับและภาวะทางอารมณ์ การนอนหลับไม่เพียงพอเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในวัยรุ่นและวัยทำงาน โดยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในปัจจุบัน การอดนอนเพียงหนึ่งคืนสามารถส่งผลกระทบต่อการมองโลกในแง่ลบและอารมณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อการนอนหลับไม่เพียงพอเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง...